Responsive image
เมนูหลัก
หน้าหลัก
เกี่ยวกับตำบล
ประวัติความเป็นมา
สภาพทั่วไป
สภาพสังคม
สภาพทางเศรษฐกิจ
การบริการพื้นฐาน
สินค้า OTOP
สถานที่สำคัญ/แหล่งท่องเที่ยว
เกี่ยวกับเรา
วิสัยทัศน์/พันธกิจ
ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา
โครงสร้างส่วนราชการ
บทบาทหน้าที่
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลม่วงน้อย
บุคลากร
คณะผู้บริหาร
สมาชิกสภา
หัวหน้าส่วนราชการ
สำนักปลัด
กองคลัง
กองช่าง
กองการศึกษา
กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
กองสวัสดิการสังคม
กองการประปา
ข่าวสารตำบล
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ข่าวกิจกรรม
ปฏิทินกิจกรรม
ข่าวรับสมัครโอน/ย้าย
ประกาศภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
จดหมายข่าว
ITA
ITA ปี พ.ศ. 2564
นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ดาวน์โหลดเอกสาร
แผนการดำเนินงาน
แผนพัฒนาท้องถิ่น
แผนดำเนินการแผนอัตรากำลัง 3 ปี
งานการเจ้าหน้าที่
เทศบัญญัติประมาณรายจ่าย
รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี
รายงานการประชุมสภา
เอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง
รายรับรายจ่าย
ความรู้เรื่องภาษี
ภาษีป้าย
ภาษีบำรุงท้องที่
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
แบบแจ้ง/คำร้องภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ระเบียบ
หนังสือสั่งการ สถ.
พรบ./พรก.
กฎระเบียบกระทรวง
คำสั่ง สถ.
มติ ก. อบจ.
มติ ก. เทศบาล
มติ ก. อบต.
เว็บบอร์ด
พูดคุยเรื่องทั่วไป
ช่องทางการรับฟังความคิดเห็น
รับเรื่องราวร้องทุกข์
เว็บบอร์ดเครือข่าย
ช่องทางร้องเรียนการทุจริต
E-service
ชำระค่าน้ำประปา
ติดต่อเรา
ติดต่อเรา
แผนที่ดาวเทียม
คู่มือประชาชน




   
           

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สถานที่สำคัญ/แหล่งท่องเที่ยว
วัดม่วงน้อย
Responsive image
วัดม่วงน้อย

     วัดม่วงน้อย ตั้งอยู่ที่บ้านม่วงน้อย หมู่ที่ 4 ตำบลม่วงน้อย อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 4 ไร่ 3 งาน 72 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือประมาณ 3 เส้น 2 วา 3 ศอก จดถนนสาธารณะ ทิศใต้ประมาณ 2 เส้น 17 วา 3 ศอก จดที่ดินเอกชน ทิศตะวันออกประมาณ 1 เส้น 10 วา 2 ศอก จดลำน้ำแม่ทา ทิศตะวันตกประมาณ 2 เส้น 15 วา 7 ศอก จดลำเหมืองสาธารณะ อาคารเสนาสนะประกอบด้วย ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ หอระฆัง และโรงครัว
     วัดม่วงน้อย สร้างเมื่อ พ.ศ. 2235 เดิมเป็นวัดที่เจริญรุ่งเรืองวัดหนึ่ง ต่อมาประชากรในหมู่บ้านลดน้อยลง และเกิดอุทกภัย ชาวบ้านจึงได้อพยพไปอยู่ที่อื่น วัดจึงขาดการทำนุบำรุงจึงทรุดโทรมไป บางปีมีพระจำพรรษา บางปีก็ขาดไป จนถึงปี พ.ศ. 2435 ได้มีพระเณรจำพรรษามากขึ้น มีพระอธิการคำอ้าย สีลวโร เป็นเจ้าอาวาส ได้ชักชวนศรัทธาประชาชนอันมี พ่อแสนจ๋อมเป็นกำนัน ได้ช่วยกันบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ การบริหาร การปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ
     รูปที่ 1 พระอธิการบุญทา เตชธมฺโม พ.ศ. 2253-2297
     รูปที่ 2 พระมา อนาลโย พ.ศ. 2297-2301
     รูปที่ 3 พระอธิการสม สุเมโธ พ.ศ. 2301-2362
     รูปที่ 4 พระอธิการคำอ้าย สีลวโร พ.ศ. 2435-2467 
     รูปที่ 5 พระสมุห์อนันต์ อานนฺโท ตั้งแต่ พ.ศ. 2521 เป็นต้นมา
โพสเมื่อ : 18 ม.ค. 2555